เมนู

12. อาเสวนปัจจัย


[1545] 1. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดหลังๆด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย,
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[1546] 2. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

13. กัมมปัจจัย


[1547] 1. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย,
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย,
เจตนาเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[1528] 2. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน
รูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
3. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมม-
ปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[1549] 4. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[1550] 5. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[1551] 6. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่ กุศลเจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[1552] 7. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[1553] 8. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

14. วิปากปัจจัย


[1554] 1. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 1 ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็น
วิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[1555] 2. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[1556] 3. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.